บทความ
6 เคล็ดลับ สำหรับคุณแม่หลังคลอด
การดูแลตัวเองหลังคลอดเป็นสิ่งสำคัญสำหรับร่างกายคุณแม่ เพื่อให้ร่างกายได้ฟื้นตัวอย่างเต็มประสิทธิภาพ ซึ่งโดยปกติแล้วสภาพร่างกายของ คุณแม่หลังคลอด จะกลับเข้าสู่สภาวะปกติภายใน 6-8 สัปดาห์ รวมทั้งแผลที่เกิดจากการคลอดก็จะหายดีในช่วงระยะเวลานี้ด้วย
อาการแบบไหน ควรทำกายภาพบำบัด
เป็นการฟื้นฟู และเสริมสร้างความสามารถในการใช้ร่างกายด้วยเทคนิคต่างๆ เช่น การดึง นวด ประคบ ร่วมกับการบริหารร่างกายสำหรับผู้ที่ได้รับบาดเจ็บ มีอาการปวด หรือได้รับผลข้างเคียงจากอาการเจ็บป่วยจนทำกิจวัตรประจำวันได้ไม่เต็มที่
เชื้อไวรัส “HPV” เกิดได้ทั้งผู้ชายและผู้หญิง
เชื้อแปปิโลมา หรือเอชพีวี (HPV) เป็นเชื้อไวรัสชนิดหนึ่ง เป็นสาเหตุสำคัญของการติดเชื้อเนื้อเยื่อบุผิว และก่อที่ก่อโรคบริเวณอวัยวะเพศและทวารหนักทั้งในผู้หญิงและผู้ชาย ด้วยการสัมผัสเชื้อโดยตรง หรือการมีเพศสัมพันธ์
“งูสวัด” ความเจ็บที่คุณไม่อยากเจอ
งูสวัดเกิดจากการติดเชื้อไวรัสวาริเซลลาซอสเตอร์ (Varicella zoster virus: VZV) ที่เมื่อติดเชื้อครั้งแรกจะทำให้เป็นโรคอีสุกอีใส แต่เมื่อหายดีแล้ว เชื้อไวรัส VZV จะเข้าไปหลบซ่อนอยู่ในปมประสาทโดยไม่แสดงอาการใด ๆ ได้นานหลายปีจนเมื่อภูมิคุ้มกันร่างกายต่ำ
ตัวการร้ายทำ ตับอักเสบ
“ตับ” เป็นหนึ่งในอวัยวะที่มีความสำคัญทำหน้าที่กรองของเสีย ขจัดสารพิษตกค้างที่ได้รับจากการรับประทานอาหารให้ออกไปจากร่างกาย หากเกิดภาวะตับอักเสบขึ้นมา ก็จะทำให้ระบบต่างๆ ในร่างกายเกิดความผิดปกติตามมา และอาจอันตรายถึงชีวิตได้ ซึ่งการเกิดตับอักเสบนั้น
พฤติกรรมเสี่ยง น้ำไขข้อแห้ง
น้ำไขข้อ หรือที่คนทั่วไปมักเรียกว่าน้ำในข้อเข่า คือน้ำที่มีลักษณะเหนียวและยืดหยุ่น ทำหน้าที่หล่อลื่นภายในข้อเข่าเพื่อลดการเสียดสีและลดแรงกระแทก ช่วยให้การเคลื่อนไหวร่างกาย ไม่ว่าจะเป็นการลุก นั่ง ยืน เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
โรคติดต่อที่มากับ “ฤดูฝน”
ในฤดูฝน อากาศเริ่มเย็นลงและมีความชื้นสูงขึ้น การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศนี้ เป็นสาเหตุทำให้โรคหลายชนิดสามารถแพร่ระบาดได้ง่ายและรวดเร็ว
อัลตราซาวด์ครรภ์ เตรียมตัวอย่างไร
สำหรับคุณแม่มือใหม่ที่รู้ตัวว่าตั้งครรภ์อ่อนๆ แน่นอนว่าจะต้องอยากเห็นเจ้าตัวเล็กไวๆ การอัลตราซาวด์ครั้งแรก จึงนับว่าเป็นช่วงเวลาแห่งความสุขจะได้รับรู้ถึงการมีอยู่ของเจ้าตัวน้อยในครรภ์ผ่านหน้าจออัลตราซาวด์
ลูกน้อยฟันสวย ด้วยทันตกรรมเด็ก
ในเด็กเล็กมักจะเริ่มมีการเปลี่ยนถ่ายฟันซี่แรกเมื่ออายุระหว่าง 6 ถึง 12 เดือน การสูญเสียฟันน้ำนมซี่แรกเริ่มเมื่ออายุ 6 หรือ 7 ขวบ และตามมาด้วยการขึ้นของฟันกรามแท้รอง ในระหว่างที่ฟันแท้ขึ้นเด็กหลาย ๆ คนจะต้องได้รับการตรวจสุขภาพฟันและรู้จักวิธีการดูแลฟัน