5 ปัจจัยเสี่ยงเกิดโรคหัวใจ
โรคหัวใจ (Heart Disease) หมายถึง โรคต่าง ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อการทำงานของหัวใจ โดยโรคหัวใจสามารถแบ่งย่อยได้เป็นหลายกลุ่มโรค เช่น โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคกล้ามเนื้อหัวใจ โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ โรคลิ้นหัวใจ โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด และโรคติดเชื้อบริเวณหัวใจ เป็นต้น
อาการของโรคหัวใจ
ความผิดปกติที่เกิดขึ้นในส่วนของหัวใจที่ต่างกัน ทำให้โรคหัวใจมีอาการต่างกันไปในแต่ละชนิด
- โรคหลอดเลือดหัวใจ
- โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ
- โรคกล้ามเนื้อหัวใจ
- โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด
- โรคลิ้นหัวใจ
- โรคติดเชื้อบริเวณหัวใจ
สาเหตุของโรคหัวใจ
สาเหตุของโรคหัวใจแต่ละชนิดมีที่มาต่างกัน เช่น
- โรคหลอดเลือดหัวใจ
- โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ
- โรคกล้ามเนื้อหัวใจ
- โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด
- โรคลิ้นหัวใจ
- โรคติดเชื้อบริเวณหัวใจ
การป้องกันโรคหัวใจ
- การป้องกันโรคหัวใจด้วยตนเองทำได้โดยปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และหมั่นตรวจร่างกายเพื่อควบคุมระดับความดันและไขมันในเลือดเป็นประจำ
- การรับประทานอาหารและออกกำลังกายเป็นสิ่งสำคัญ ควรเน้นผัก ผลไม้ ธัญพืช ลดปริมาณไขมัน โซเดียม และน้ำตาลให้น้อย
- หมั่นออกกำลังกาย ควบคุมน้ำหนัก หยุดสูบบุหรี่ และความเครียดก็อาจเป็นปัจจัยการเกิดโรคหัวใจได้เช่นกัน
ดั่งนั้น จึงควรพยายามผ่อนคลายจิตใจให้มาก และรักษาสุขอนามัยให้ถูกต้องอยู่เสมอเพื่อป้องกันโรคติดเชื้อบริเวณหัวใจ
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม หรือต้องการนัดหมายแพทย์ เพื่อทำการปรึกษา
โทร. 0-2109-1111 , 0-2109-2222